ทหารญี่ปุ่นกับภารกิจลึกลับที่ตระพังพระ (ตอน 1)

    คำบอกเล่าโดยเจ้าอาวาสวัดพะโคะ ต่อ Stewart Wavell ใน พ.ศ. 2505 แปลจาก The Naga King's Daughter     The Naga King's Daughter เป็นหนังสือกึ่งบันทึกกา…

0 Comments

อักขระศิลป์ที่สุเหร่าโบราณบ้านทรายขาว ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

    "สุเหร่าบ้านทรายขาว" หรือ "มัสยิดร่อมันอับญาต" ตั้งอยู่ที่หมู่ ๗ บ้านทรายขาว ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา สุเหร่าหลังนี้มีความโดดเด่นเป็ออ…

0 Comments

เจดีย์ที่ถูกฟ้าผ่ากับตำนานผีซัดโบสถ์

  เจดีย์ก่ออิฐบนฐานหิน ที่ลานชั้นล่างของวัดสูงเกาะใหญ่ถูกฟ้าผ่าติดต่อกัน ๓ ครั้ง เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อไม่ถึงร้อยปีก่อน หลังฟ้าฝ่าเจดีย์ทะลายลงบางส…

0 Comments

ธงหางไก่ : หลักฐาน ร่องรอย ในเพลงเรือ(ลากพระ)แหลมโพธิ์

        “ปักธงข้างหน้าระย้าหางไก่ …สองข้างเป็นแพนแขวนดอกไม้ไหว        ชายตาแลไปแลไปเป็นสอง…วาดรูปราหูอยู่ที่หุ้มกลอง”[๑]      บทเพลงเรือ (แหลมโพธิ์) ข…

0 Comments

มหาสถูปบนเขาน้อยปลายคาบสมุทรสทิงพระกับความเสี่ยงที่จะพังทลายในเร็ววันนี้

    จากกรณีการรุกล้ำพื้นที่ "เขาน้อย"และ "เขาแดง" ที่ อ.สิงหนคร สงขลา ปลายคาบสมุทรสทิงพระ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องหลายสิบปีจนกระทั้งการขุดไถอย่างว…

0 Comments

อักขระศิลป์ที่เชิงเขาแห่งความเมตตา: มัสยิดยาบัลโหรดเหร๊าหม๊ะ (สุเหร่าใหญ่ในบ้าน) บ้านหัวเขา ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

    “บ้านหัวเขา”ชื่อหมู่บ้านของคนแขก (มุสลิม) ในเขตพื้นที่ ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา แบ่งหมู่บ้านย่อยออกเป็น ๔ บ้าน คือ ในบ้าน นกท่อง บ้านน…

0 Comments

โลงเอน…ลุ่มทะเลสาบสงขลา

    ภาพถ่ายเก่างานศพพระสงฆ์รูปหนึ่ง พบที่วันแหลมจาก ต.ปากรอ อ.สิงหนคร จ.สงขลา แสดงให้เห็นรูปทรงและโครงสร้างของฐานเบญจาที่ตั้งของโลงศพที่อยู่สูงขึ้นไป …

0 Comments

โกศเก็บรักษาลูกแก้วของหลวงปู่ทวดตามตำนาน

สุรเชษฐ์ แก้วสกุล (ผู้เขียน) ใน “ยอเข้าตำราหมื่นตราพระธรรมวิลาสเอาไปวิวาทเป็นหัวเมือง” เอกสารสมัยสมัยอยุธยาเพียงฉบับเดียวที่ให้ข้อมูลประวัติหลวงปู่ทวด…

0 Comments

พระศรีรัตนมหาธาตุ บนเขาพะโคะ

"พระศรีรัตนมหาธาตุ" หรือ "พระสุวรรณมาลิกเจดีย์" เป็นชื่อของพระสถูปขนาดใหญ่บนเขาพะโคะ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เดิมสร้างขึ้นโดยสมเด็จพระราชมุนี (สมเด็…

0 Comments

จารึกอุโบสถวัดคูเต่า ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

ตำแหน่งจารึก : จารึกฝังอยู่บนผนังเหนือประตูทางเข้าด้านในอุโบสถฝั่งทิศตะวันออก วัสดุ : หินไม่ทราบชนิด ลักษณะคล้ายหินชนวน ขนาดจารึก : ประมาณ 22.50 x 30.…

0 Comments