สืบค้น ตามหา : ปืนใหญ่บนป้อมหมายเลข ๘ เมืองสุลต่านซิงฆอรา(สงขลา)

    “…เมื่อ ค.ศ. ๑๖๔๒ (พ.ศ.๒๑๘๕)มีแขกมลายูคนหนึ่งได้ตั้งตัวเป็นใหญ่ในเมืองสงขลาและได้กบฏต่อพระเจ้ากรุงสยามแขกมลายูผู้นี้ได้ทำป้อมคูประตูหอรบอย่างแข็งแ…

0 Comments

สาคูต้นกระแสสินธุ์ : เส้นทางจากต้นสาคูสู่แป้งสาคูต้นหนึ่งเดียวในคาบสมุทรสทิงพระ

    นางเหมวดี ทองฉีด หรือพี่ใหม่ ซึ่งเป็นเจ้าของธุรกิจสาคูต้นที่บ้านทุ่งบัว ต.เกาะใหญ่ อ.กระแสสินธุ์ จ.สงขลาได้เล่าถึงความเป็นมาของการทำสาคูต้นของตนว่…

0 Comments

ขนมเทียนบ้านฉัน

    "ขนมเทียน" ที่บ้านควน ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา บ้านเกิดผู้เขียน เป็นขนมนึ่งทำจาก แป้งข้าวเหนียว มะพร้าวทึนทึกหรือมะพร้าวอ่อน น้ำตาลทรา…

0 Comments

ค้างคาวในจิตรกรรมวัดคูเต่ากับเรื่องเล่าค้างคาวปลายคลองอู่ตะเภา

    เมื่อปลายเดือนที่เเล้วผู้เขียนมีโอกาสเข้าไปเยี่ยมชมจิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ์วัดคูเต่า ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา ครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่สองของผู้เข…

0 Comments

อู่ตะเภา – คลองเชื่อมเส้นทางเมืองสงขลา – เมืองไทรบุรี (เคดาห์)

จากแผนที่นครศรีธรรมราช (Map 11) ในชุดแผนที่พบใหม่ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งตีพิมพ์อยู่ใน Royal Siamese Maps อู่ตะเภา - คลองเชื่อมเส้นทาง สงขลา - ไทรบุรี (…

0 Comments

สงขลาไม่ได้มีแค่ “แกะ” เก็บข้าวแต่ยังมี “เกี่ยว” กับ “มีดงอ” ที่เหมือน “เคียว” ของภาคกลาง

"เกี่ยว " อุุปกรณ์เก็บข้าวที่บ้านเขาใน ตำบลเชิงเเส อำเภอกระเเสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ซื่อจากตลาดใน(อำเภอ)ระโนด     การเก็บข้าวของคนปักษ์ใต้บ้านเรา เป็นที…

0 Comments

ชื่อเสียงเรียงนาม : ลักษณะเฉพาะของศาสนสถานเนื่องในศาสนาอิสลามลุ่มทะเลสาบสงขลา

    กรณีศึกษาจากชุมชนแขกปลายน้ำคลองอู่ตะเภา ลุ่มทะเลสาบสงขลา     บ้านควน คือหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา บริเวณปลายน้ำคลอ…

0 Comments

การทำกัดหรืออวน : เครื่องมือประมงพื้นบ้านที่ชุมพลชายทะเล ต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา

ปะแก่ฉาด (นาชฉาด หลีกันชะ) กำลังนั่งผูกกัด ผู้สูงอายุที่สุดของหมู่บ้านซึ่งถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการทำกัดให้กับผู้เขียน      …

0 Comments

เรื่องอลวนของ “เหนียวลาหวาก” หรือ “เหนียวลาวะ”

                “เหนียวลาหวาก” หรือ “เหนียวลาวะ” [1] ขนมหวานชนิดหนึ่งของคนแขก (มุสลิมซิงฆูรา)[2…

0 Comments

ลุ่มเลสาบกับรากมลายูในชื่อปลา​ : “ขี้โร่ง”

    จากที่ผู้เขียนได้นำเสนอเรื่องราวของ “ปลาคางโคะ” หรือ “ปลาหัวโบ่ง” หรือ “หัวโม่ง” ไปแล้วก่อนหน้านี้ในบทความเรื่อง “คางโคะ” : ปลาแห่งลุ่มเลสาบสงขลาก…

0 Comments