Your blog category

“ไข่นกทูง” : ของกินยามยากคนแต่แรก

เช้าวันศุกร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๗ ขณะนั่งล้อมวงรับประทานอาหารเช้าที่ขนำหลังเล็กหน้าบ้านของ "วะ"(ป้าสะใภ้) ก็ได้ฟังเรื่องราวที่ชวนตื่นเต้นเป็นอย่างมาก เป็…

0 Comments

ยำปลาหลังเขียวสูตรวะฉ๊ะ ของหรอยริมเลอ่าวไทยที่บ้านชุมพลชายทะเล

ยำปลาหลังเขียว สูตรวะฉ๊ะ (นางกีฉ๊ะ วงา์อุทัย) มุสลิมบ้านชุมพลชายทะเล "ชุมพลชายทะเล" ชุมชนมุสลิมริมฝั่งทะเลอ่าวไทยในตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา…

0 Comments

“หอยเสียบ” วัตถุดิบจากหาดทราย​กับหลากหลายเมนูหรอย

“หอยเสียบ” วัตถุดิบพื้นถิ่นที่หาได้จากหาดทรายชายทะเล หากพูดถึงเมนูอาหารขึ้นชื่อจากหอยเสียบ ที่คุ้นเคยกันก็คงหนีไม่พ้น "หอยเสียบดอง"  อาจจะดองด้วยเกลือ…

0 Comments

หนางวัว : ภูมิปัญญาถนอมอาหารเนื่องในเชือดสัตว์พลีทาน

ต้มเทะหนางวัว ปรุงโดยผู้เขียน เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ ที่ผ่าน สำนักจุฬาราชมนตรีประกาศให้เป็น “วันอีดิลอัฏฮา” หรือที่มุสลิมลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาเรีย…

0 Comments

ตำนานฝากปลาทูขึ้นราเพื่อนไปขายจนได้ดี

วันคาร เป็นตัวละครในวรรณกรรมเอกของภาคใต้ที่น่าจะเรียกได้ว่า ดวงดีย์เป็นอันดับหนึ่ง และได้ดีเพราะได้เพื่อนดี คนแต่งคงตั้งใจให้เป็นอุทาหรของการคบมิตร คา…

0 Comments

หีบพระธรรม หรือ หีบศพเจ้าเมืองนคร

หีบพระธรรม หรือหีบศพเจ้าเมืองนคร เทคนิคไม้แกะสลัก ลงรักปิดทอง ประดับกระจก กำหนดอายุในช่วงครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 24 เก็บรักษาอยู่ภายในวิหารโพธิลังกา …

0 Comments

ซ่อนลูกไม้ใน “กล” ซ่อนผลไม้ใน “โคระ”

“โคระ” ภูมิปัญญาอย่างหนึ่งของผู้คนกลุ่มชนต่าง ๆ บนคาบสมุทรไทย-มาเลย์ เป็นอุปกรณ์ทำจากใบมะพร้าว นำมาสานเพื่อใช้ห่อผลไม้เช่นจำปาดะหรือขนุนป้องกันไม่ให้แ…

0 Comments

ไข่เป็ดดองคู่ ข้าวมันแกงไก่ กับการปรากฎอยู่นอกแผ่นดินสงขลา

ใครที่เดินทางจากนครศรีธรรมราชไปสงขลาหรือเดินทางจากสงขลามานครศรีธรรมราช หากใช้เส้นเลียบชายทะเลอ่าวไทยจะต้องผ่านสี่เเยกไฟแดงบ้านหน้าศาล ตำบลเกาะเพชร อำเ…

0 Comments

จากพรมทอสเปนสู่ตู้พระธรรมลายสับปะรดในวิหารโพธิลังกา

ตู้พระธรรมกำหนดอายุในราวพศว.23-ต้นพศว.24 ไม่ทราบที่มา ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ในวิหารโพธิลังกาใบนี้ ผูกลายโดยปรับกระบวนจากพรมทอลายสับปะรดของสเปน แต่ความเ…

0 Comments

ชฎาพระลากวัดหาดสูง

ภาพ สุรเชษฐ์ แก้วสกุล ชฎาพระลากวัดหาดสูงดูทีแรกค่อนข้างแปลก เพราะเส้นทรงจากเกี้ยวชั้นที่สองลากยาวเป็นเส้นเดียวขึ้นไปถึงยอด ทำให้นึกถึงทรงยอดของชฎาสมัย…

0 Comments