ทูนถาดค่ำศุกร์ : ทำบุญให้บรรพชนของคนแขกบ้านหนองบัว ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

  “บ้านหนองบัว”ตั้งอยู่ที่หมู่ ๕ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ณ หมู่บ้านแห่งนี้ มีประชากรชาวไทยมุสลิมหรือที่ชาวบ้านเหล่านั้นเรียกขานตัวเขาเอง…

0 Comments

ดีเก : ลำนำชาวซิงฆูราที่บ้านควน ต.คูเต่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ขบวนขันหมาก (ทูนบายศรีมลายู/บายศรีพลู) ของมุสลิมซิงฆูราบ้านควน - สงขลาเมื่อ พ.ศ.2515 ภาพวาหนัดวาราด “…ดีเกคำนี้เคยได้ยินหรือเปล่า หาที่สงขลาดูว่ามีหรื…

0 Comments

วะเเตกที่คลองช้าง : ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ กับสีสันชีวิตผู้คนในฤดูฝน

“วะ” ในภาษาไทยถิ่นใต้นั้นมีความหมายระบุอยู่ในพจนานุกรมภาษาถิ่นใต้ (๒๕๒๕) ว่า "น. แอ่งน้ำ, ทางน้ำ, เช่น ปากวะ-ปากน้ำ, ทางน้ำไหลออก” คำว่าวะนี้เข้าใจว่า…

0 Comments

พองช่อ พองดอกรัก ข้าวพองยอด : ขนมจัดหฺมฺรับคนคาบสมุทรสทิงพระสงขลา

“พอง” หรือ “ข้าวพอง” ทำจากข้าวเหนียว นำสารข้าวเหนียวแช่ทิ้งไว้ ๑ คืน แล้วนำมาล้างให้สะอาดจนหมดกลิ่น นำไปนึ่งด้วยสวด (หวด) แล้วนำมาอัดลงในแบบพิมพ์เป็นร…

0 Comments

“ไข่ดอง” ชื่ออันไม่เป็นที่รู้จักของ “ไข่ครอบ”

เรื่อง และภาพโดย สามารถ สาเร็ม ภาพกราฟิกโดย คิดอย่าง     กล่าวกันว่า “ไข่ครอบ” ถูกรังสรรค์ขึ้นโดยชาวประมงมุสลิมแห่งลุ่มทะเลสาบสงขลา ซึ่งมีความจำเป็นต้…

0 Comments

ดีเก : ลำนำชาวซิงฆูราบ้านหัวเขา

อัปเดตเมื่อ 23 มี.ค. 2565 “…สิงหนคร แต่ก่อนชื่อเมืองสิงขรา ดินแดนนี่หนา เป็นเมืองท่าที่สำคัญ ปกครองโดยท่านสุไลหมาน คนกล่าวขาน ถึงคุณงามความดี…” (…

0 Comments

สงขลาไม่ได้มีแค่ “แกะ” เก็บข้าวแต่ยังมี “เกี่ยว” กับ “มีดงอ” ที่เหมือน “เคียว” ของภาคกลาง

"เกี่ยว " อุุปกรณ์เก็บข้าวที่บ้านเขาใน ตำบลเชิงเเส อำเภอกระเเสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ซื่อจากตลาดใน(อำเภอ)ระโนด     การเก็บข้าวของคนปักษ์ใต้บ้านเรา เป็นที…

0 Comments

การทำกัดหรืออวน : เครื่องมือประมงพื้นบ้านที่ชุมพลชายทะเล ต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา

ปะแก่ฉาด (นาชฉาด หลีกันชะ) กำลังนั่งผูกกัด ผู้สูงอายุที่สุดของหมู่บ้านซึ่งถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการทำกัดให้กับผู้เขียน      …

0 Comments

“ปลาหวาน” ; มรดกภูมิปัญญาการถนอมอาหารดั้งเดิมของมุสลิมบ้านหัวเขา

    "ปลาหวาน" มีลักษณะคล้าย ๆ กับเนื้อสวรรค์ มีอยู่ด้วยกันสามลักษณะคือ ๑.แผ่นกลม ๒.แผ่นบางยาว และ ๓.เป็นชิ้นเล็ก ๆ  เป็นมรดกภูมิปัญญาการถนอมอาหาร…

0 Comments

“หนุมลูกโหนด”…ขนมพื้นบ้านคาบสมุทรสทิงพระสงขลา

    "ต้นโหนด" คำที่ใช้เรียกต้นตาลโตนดของคนลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาในทางภาษาตาลคือภาษาบาลี ส่วนโหนด (โตนด) เป็นคำเขมร แม้ว่าพืชชนิดนี้ไม่ได้มีแหล่งกำเนิดในท…

0 Comments